การประชุมกำหนดแนวทางและตัวชี้วัดการประเมินผลงานตามคำรับรองปฏิบัติราชการ (MOU) ของคปสอ. 1/2563

วันที่ 23 เมษายน 2563 ณ ห้องประชุมธรรมโกศัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

1. Slide : การตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กรณีปกติ ปีงบประมาณ 2563

2. Slide :  กรอบการประเมินตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ ปีงบประมาณ 2563

3. การดำเนินการจัดทำ OKRs ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ ในการตรวจราชการและตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ ปี 2563

4. ตัวชี้วัดนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดแพร่

ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของ อสม.ได้รับการพัฒนาเป็น อสม.หมอประจำบ้าน

ตัวชี้วัดที่ 2 อัตราความครอบคลุมของการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยเป็นวัณโรค

ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทำความดี ด้วยหัวใจ

ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานการเข้าถึงกัญชาทางการแพทย์

ตัวชี้วัด 5 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital โดยมีโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ในระดับดีมากขึ้นไป ร้อยละ 75 และ ผ่านเกณฑ์ในระดับดีมาก พลัส ร้อยละ 25 (2 แห่ง) 

5. ตัวชี้วัดการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ ประจำปีงบประมาณ 2563

ลำดับที่ ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ
1 P&Pอัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน     PA   นางไพรินทร์ เรืองจันทร์  
2 P&Pร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัย   PA HDC นางไพรินทร์ เรืองจันทร์
3 P&Pร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี HDC นางไพรินทร์ เรืองจันทร์
4 P&Pเด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 HDC นายประยูร บุญนิธิพันธุ์
5 P&Pร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน HDC นางสาวศิรินทร์ทิพย์ สุพรรณ
6 P&Pอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี HDC นางสาวศิรินทร์ทิพย์ สุพรรณ
7 P&Pร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม care plan นาย เสกสรรค์ ช้างเขียว
8 P&Pร้อยละของประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์    PA นายภวัต อารินทร์
9 P&Pร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์   PA นาย เสกสรรค์ ช้างเขียว
10

P&Pจำนวนครอบครัวไทยมีความรอบรู้สุขภาพเรื่องกิจกรรมทางกาย  PA

นาย เสกสรรค์ ช้างเขียว
11 ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ   PA  นายสิทธิศักดิ์ สิริภัทรชัย
12 P&Pระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด นางสาวปรียารัตน์ จิระพงษ์สุวรรณ
13 P&Pร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง HDC นางดารารัตน์ หมื่นโฮ้ง
14 ร้อยละของจังหวัดมีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับส่วนกลาง และภูมิภาค อย่างน้อยจังหวัดละ 1 เรื่อง นายธำรงค์ศักดิ์ แสนยศ
15 P&Pร้อยละของจังหวัดมีระบบรับแจ้งข่าว การใช้/ป่วยจากการสัมผัส สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) โดยประชาชน/อสม. ผ่าน Mobile Application สู่หน่วยบริการ (คลินิกสารเคมีเกษตร/คลินิกโรคจากการทำงาน)     PA นายธำรงค์ศักดิ์ แสนยศ
16 P&Pร้อยละของจังหวัดมีการจัดทำฐานข้อมูลอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) ด้านเกษตรกรรม และมีการรายงานการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตจากสารเคมีทางการเกษตร (รหัสโรค T60)   PA  นายธำรงค์ศักดิ์ แสนยศ
17 P&Pร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ภญ. รติพร ภก.ธารา 
18

P&Pร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital

18.1 โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไป ร้อยละ 75

18.2 โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก Plus ร้อยละ 30

นายธำรงค์ศักดิ์ แสนยศ
19 P&Pร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

นายดุสิต เกษม

20 Service ร้อยละของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิที่เปิดดำเนินการในพื้นที่    PA  นายสิทธิศักดิ์ ศิริภัทรชัย
21 Service ร้อยละของประชาชนในอำเภอที่เป็นที่ตั้งของ รพศ./รพท. มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ที่ผ่านการอบรมและคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิดูแลด้วยหลักเวชศาสตร์ครอบครัว   PA  นายสิทธิศักดิ์ ศิริภัทรชัย
22 Service ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้าน มีคุณภาพชีวิตที่ดี   PA  นายปิยะ จัตุรภัทร์
23 Service จำนวน อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน   PA  นายปิยะ จัตุรภัทร์
25 Service อัตราสำเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่   PA  นายจิรพนธ์ ขัดชา
26 Service ร้อยละของจังหวัดที่ดำเนินงานการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน   PA  ภก.ธีรวิทย์ พรหมเสนา
27 Service ร้อยละของโรงพยาบาลมีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)   PA  ภก.ธีรวิทย์ พรหมเสนา
29 Service อัตราตายทารกแรกเกิด HDC นางไพรินทร์ เรืองจันทร์
31 Service ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก HDC ดร.ภก.วิมลักษณ์ นพศิริ 
32 Service ร้อยละของผู้ป่วยซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต HDC นายประยูร บุญนิธิพันธุ์
33

Service อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ

33.1 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ

33.2 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี HDC

นายประยูร บุญนิธิพันธุ์
41 Service ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้ารับการบำบัดรักษา และ ติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) นายปกรณ์ วชิรัคกุล
42 Service ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการประเมิน บำบัดรักษาและติดตามดูแล ช่วยเหลือตามระดับความรุนแรง อย่างต่อเนื่อง นายปกรณ์ วชิรัคกุล
53 People ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ นายเฉลิมทิตย์ ปวงขจร
54 Governance ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA นางเจนจิรา เดชนาลักษณ์
55 Governance ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด PA  นางกัญญาลักษณ์ ศักดิ์สิทธิ์
56 Governance ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3PA  นางขนิษฐา พันธุเวช
57 Governance ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว   PA  นายสิทธิศักดิ์ สิริภัทรชัย
58 Governance จำนวนองค์กรแห่งความสุข ที่มีคุณภาพมาตรฐาน   PA   
59 Governance ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล HDC นางสาวอังศุมาลิน บัวแก้ว
60 Governance ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็น Smart Hospital   PA  นายวัชรพงษ์ วัชรินทร์
61 Governance จำนวนโรงพยาบาลที่มีบริการรับยาที่ร้านยา   PA  ภก.กฤษณะ จันทร์ทอง
64 Governance ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน  นางสาวสุดารัตน์ รัชอำนวยวงษ์
65 Governance จำนวนนวัตกรรมและเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด ดร.นิพิฐพนธ์ แสงด้วง นายทวีศักดิ์ โท๊ะทองซิว
67 Governance ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้ นางศิรินุช ศรีสุวรรณ

 

6.ตัวชี้วัดที่อยู่นอกเหนือความรับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

ลำดับที่ ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ
24 Service ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและระยะเวลาที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม PA HDC  
28 Service ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง  
30 Service ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่าง ๆ ด้วย Opioid ในผู้ป่วยประคับประคองระยะท้าย อย่างมีคุณภาพ  
34 Service อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired  
35 Service ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับM1 ขึ้นไป ที่มีแพทย์ออร์โธปิดิกส์เพิ่มขึ้น ให้ได้อย่างน้อย 1 ทีมต่อ 1 เขตสุขภาพ  
36 Service อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการให้การรักษาตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด PA  
37 Service ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรกได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด  
38 Service ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<5 ml/min/1.73m2/yr HDC  
39 Service ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน  
40 Service อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A,S) รพ.แพร่
43 Service ร้อยละของโรงพยาบาลระดับ M และ F ในจังหวัดที่ให้การบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง แบบผู้ป่วยใน (intermediate bed/ward)  
44 Service ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด One Day Surgery  
45 Service จำนวนคลินิกการให้บริการกัญชาทางการแพทย์นำร่องอย่างน้อย เขตสุขภาพละ 1 แห่ง   PA ดร.ภก.วิมลักษณ์ นพศิริ 
46 Service อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) น้อยกว่าร้อยละ 12 (Trauma<12%, Non-trauma<12%) PA  
47 Service ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน  
48 Service ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ PA โรงพยาบาลศูนย์
49 Service จำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ลดลง PA  
50 Service พื้นที่เกาะ PA  
51 Service รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ PA  
52 People ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์  
62 Governance ความแตกต่างอัตราการใช้สิทธิ (compliance rate) เมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยใน (IP) ของผู้มีสิทธิใน 3 ระบบ  
63 Governance ระดับความสำเร็จของการจัดทำสิทธิประโยชน์กลางผู้ป่วยใน ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ  
66 Governance ร้อยละของเขตสุขภาพมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ PA   

 

7.รายละเอียดตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2563

8. Slide : การพิจารณาจัดทำ MOU สสจ.แพร่ 2563

9. สรุปผลการพิจารณาการจัดทำ MOU สสจ.แพร่ 1-2563