เอกสารประกอบการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะที่ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
1 การพัฒนาคุณภาพชีวิต และเด็กปฐมวัย
1.1 อัตราส่วนการตายมารดา
1.2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่ อายุ 5 ปี
2 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น
2.1 ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free)
2.2 อัตราการคลองชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี
3 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ
3.1 ร้อยละของตำบลที่มีระบบ Long Team Care ผ่านเกณฑ์
4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
4.1 ร้อยละของ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ
5 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
5.1 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)และทีมตะหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
5.2 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี
5.3 อัตราการเสียชีวติจากการบาดเจ็บบนท้องถนน
5.4 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
5.5 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ Green and Clean Hopital
คณะที่2 การพัฒนาระบบบริการ
2.1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
2.1.1 ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Peimary care cluster)
2.2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
2.2.1 สาขาศัลยกรรม
2.2.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery
2.2.3 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
2.2.4 จำนวนเมืองสมุนไพร อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด
2.3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan ) Health Outcome
2.3.1 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
2.3.2 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ
2.3.3 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit)
2.3.4 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
2.3.4 อัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์) ลงร้อยละ 10 จากปีงบประมาณก่อน
2.4 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan ) Service Outcome
2.4.1 ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2.4.2 ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr
2.4.3 อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายต่อจำนวน ผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล
2.4.4 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดรักษา และหยุดเสพต่อเนื่อง (remission)
2.4.5 ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)
2.4.6 ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง
2.4.7 ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วยSTEMI ได้
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
3.1 ระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
3.1.1 ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้
3.1.2 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention Rate)
3.2 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ
3.2.1 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
3.2.2 ร้อยละของการจัดชื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุ ทันตกรรม
3.2.3 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับ จังหวัด
3.2.4 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3.2.5 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตราฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3
3.2.6 ร้อยละของ รพ.สต.ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว
3.3 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
3.3.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน
ตัวชี้วัด Monitor
คณะที่ 1
1. ตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับ และมะเร็งท่อน้ำดี
2. ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
3. ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย
4. ร้อยละของ Healthy Ageing
5. ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก
6. ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบรูณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
7. ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไปร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป
8. ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงเดีสมส่วน
9. ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปีมีค่าดัชนีมวลกายปกติ
10. ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
คณะที่ 2
1. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care)
2. IMC
3. ทันตกรรม
4. Service planสูติกรรมรอบ1
5. ทารกแรกเกิด
6. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
7. ร้อยละผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน
8. ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด
9. ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต.ศสม.
10. สาขาออร์โธปิดิกส์_ตก1_2561_CaptureTheFracture
11. สาขาการปลูกถ่ายอวัยวะและดวงตา
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Powerpoint ตรวจราชการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ >>Down Load <<
Powerpoint ตรวจราชการกรณีปกติ รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 61 รพ.แพร่ >>Down Load <<
Down Load >> รายงานตรวจราชการฯ คปสอ.วังชิ้น <<
ไฟล์ สรุปตรวจราชการ รอบที่ 1
- คณะที่ 1
- ปฐมภูมิ
- คณะที่ 2
- คณะที่ 3